การจัดการน้ำเสียจาก Home Isolation ลดเสี่ยงและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค

  • 15 มีนาคม 2565
การจัดการน้ำเสียจาก Home Isolation ลดเสี่ยงและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค

การจัดการน้ำเสียจาก Home Isolation ลดเสี่ยงและป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค

    • พื้นที่มีระบบรวบรวมน้ำเสีย และระบบบำบัดนํ้าเสียกลางของชุมชน
      • ให้รวบรวมนํ้าเสียทั้งหมด ปล่อยลงสู่ ระบบท่อรวบรวมน้ำเสีย เพื่อเข้าสู่ ระบบบําบัดน้ำเสียของชุมชนกลาง
    • พื้นที่ไม่มีระบบรวบรวมน้ำเสียเพื่อนำน้ำเสีย เข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียกลางของชุมชน แต่มีการบำบัดนํ้าเสียครัวเรือนเบื้องต้น เช่น บ่อเกรอะ-บ่อซึม หรือถังเกรอะ
      • รวบรวมนํ้าเสียที่เกิดขึ้นปล่อยลงบ่อเกรอะ-บ่อซึม หรือถังเกรอะที่มีอยู่เดิม เพื่อเก็บกักและบำบัดน้ำเสีย ในเบื้องต้น ก่อนปล่อยออกสู่ภายนอก
  • อาคารชุด หอพัก อพาร์ทเมนท์
  • ตรวจสอบท่อระบายนํ้าทิ้งว่าสามารถระบายอากาศได้ดี 
    • มีท่อระบายที่ปิดสนิทในห้องนํ้าและวาล์วกับการไหลย้อนกลับ สำหรับหัวฉีดและก็อกนํ้า เพื่อป้องกันไม่ให้ละอองฝอยจากอุจจาระเข้าไปในระบบท่อ หรือระบายอากาศ
    • ท่อระบายน้ำทิ้งต้องไม่รั่วซึม ก่อนปล่อยเข้าสู่ระบบบําบัดน้ำเสียที่ได้มาตรฐาน
  • พื้นที่ไม่มีการจัดการน้ำเสีย
    • รวบรวมนํ้าเสียที่เกิดขึ้นและเก็บกักไว้อย่างน้อย 2 วัน ก่อนปล่อยออกสู่ภายนอกเช่น ปล่อยลงบ่อพักนํ้าเสีย 
    • ไม่ควรให้มีนํ้าเสียขังนอง

หลีกเลี่ยงการสัมผัสน้ำเสียหรือละอองน้ำเสีย หรือนำนํ้าเสียไปใช้ประโยชน์ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค

รายงานการศึกษาหลายฉบับ พบ RNA จองเชื้อไวรัส COVID-19 ในนํ้าเสีย แต่ยังไม่พบว่า มีความสามารถในการแพร่เชื้อได้ และมีงานวิจัยระบุว่าเชื้อสามารถอยู่ในน้ำเสียได้ 2 วัน ที่อุณหภูมิ 20 C (WHO, 2020)

 

#อนามัยสิ่งแวดล้อม #COVID-19

กองส่งเสริมความรอบรู้และสื่อสารสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

เลขที่ 88/22 ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี

Email prnews@anamai.mail.go.th

โทรศัพท์ 0-2590-4053

ติดตามกรมอนามัย

เรามีสาระสุขภาพดีๆ ส่งตรงถึงอีเมลคุณทุกสัปดาห์

Subscription

© DEPARTMENT OF HEALTH : MINISTRY OF PUBLIC HEALTH